ระบบคลาวด์ เทคโนโลยีที่เกี่ยวกับการจัดเก็บข้อมูลที่มีขนาดมหาศาล ที่ได้ถูกพูดถึงกันเป็นวงกว้าง ในงานประชุมที่เกี่ยวข้องกับวงการไอทีทั่วโลก
ระบบคลาวด์ สำหรับสิ่งที่เรียกว่า ” Cloud Computing “ เชื่อว่าหลายคนก็คงจะนึกถึง การเข้าถึงระบบ ทั้งหมดของ Server จากระยะไกล หรืออาจจะเป็น การเก็บเกี่ยวข้อมูลในระยะไกล ที่ยกตัวอย่างได้เช่น OneDrive และ Google Drive
แต่สำหรับใคร ที่มีข้อมูลที่รู้ลึก ลงไปในรายละเอียด ก็คงจะรู้กันดีว่า วิธีใช้คลาวด์ สิ่งที่ได้กล่าวมานั้น มันเป็นแค่เพียง ส่วนหนึ่งเท่านั้น เพราะเนื่องจาก สิ่งที่เรียกว่า Cloud Computing ยังมีส่วนของการบริการ สำหรับการใช้งาน อย่างอื่นอีกมากมาย
โดยในวันนี้ เราก็จะมาช่วยอธิบาย ตัวอย่างระบบคลาวด์ เพื่อทำความเข้าใจ ในเรื่องที่เกี่ยวกับ Cloud Computing ซึ่งในปัจจุบันได้กลายเป็นประเด็น ในวาระสำคัญ สำหรับการประชุม ของแวดวงไอที กันไปทั่วโลก
ว่าเจ้าสิ่งนี้นั้น มันมีที่มาที่ไปอย่างไร มีอิทธิพลต่อ วงการเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ของโลกมากน้อยแค่ไหน ประโยชน์ของระบบคลาวด์ อีกทั้งยังต้อง พูดถึงประเภทสำหรับ การใช้งานของมัน รวมไปจนถึง คุณสมบัติพิเศษต่างๆ ที่สามารถจะถูกใช้ ให้เป็นประโยชน์ กับโลกในอนาคต
โดยในอันดับแรก เราจะต้องมา ทำความเข้าใจกันก่อนว่า Cloud Computing นั้นคืออะไร ซึ่งคำตอบที่ถูกต้องนั่นก็คือ การประมวลผลข้อมูลแบบคลาวด์ ที่ได้มาเป็น ปัจจัยสำคัญตัวใหม่ สำหรับระบบคอมพิวเตอร์ทั่วโลก
โดยระบบการประมวลผลประเภทนี้ เป็นความเจริญก้าวหน้า ทางเทคโนโลยี ของระบบคอมพิวเตอร์ ที่ได้ทำการเปิดให้บริการ ในรูปแบบลักษณะ ของเครือข่ายออนไลน์ไปทั่วโลก บริการบนคลาวด์มีอะไรบ้าง และก็ยังเป็นการ ให้บริการที่ครอบคลุม ในทุกรูปแบบ
อาทิเช่นการให้บริการ เกี่ยวกับหน่วยประมวลผล บริการซอฟต์แวร์ การให้บริการในเรื่องของ Application และยังรวมไปถึง การให้บริการ ที่เกี่ยวกับพื้นฐาน โครงสร้างทางด้านไอที ที่มีอยู่บนโลกนี้อย่างมากมาย
ซึ่งโครงสร้างของระบบเหล่านี้ ถือเป็นสิ่งที่เป็น หัวใจสำคัญขององค์กร การทำงานต่างๆ ในโลกยุคปัจจุบัน เป็นอย่างมาก โดยเฉพาะในเรื่องของ หน่วยจัดเก็บข้อมูล , ระบบ Server , ระบบคอมพิวเตอร์จำลอง , ระบบของเครือข่ายทั้งหมด และยังรวมไปจนถึง ระบบการทำงานอัจฉริยะ ล่าสุดอย่าง AI อีกด้วย
ในวันที่ระบบ Cloud computing ได้ถือกำเนิดขึ้นบนโลกเป็นครั้งแรก
โดยที่เจ้าสิ่งนี้นั้น มันได้ถือกำเนิดขึ้น บนโลกเป็นครั้งแรกในยุคของ ” คอมพิวเตอร์เมนเฟรม “ ที่เราจะต้องย้อนกาลเวลากลับไปในปี ค.ศ. 1950 ( พ.ศ. 2493 ) ถึง ปีค.ศ. 1960 ( พ.ศ. 2503 )
ซึ่งในขณะนั้น เป็นช่วงเวลาที่ ” คอมพิวเตอร์เมนเฟรม “ ( Mainframe Computer ) ซึ่งเป็นคอมพิวเตอร์ ที่มีประสิทธิภาพ ในการทำงานระดับสูง ได้ถือกำเนิดขึ้น เป็นเครื่องแรกในโลก
แต่ด้วยความที่มัน ยังเป็นของใหม่ มันจึงมีขนาดเครื่องที่ใหญ่ มีน้ำหนักที่มาก และที่สำคัญนั่นก็คือ ยังมีราคาที่แพงแบบหูฉี่ มันจึงยังคงเป็น เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ ถูกใช้เฉพาะอยู่ใน องค์กรขนาดใหญ่ อย่างเช่นในมหาวิทยาลัย หรือสถาบันทางการเงิน ขนาดใหญ่นั่นเอง
โดยการมาของ เจ้าคอมพิวเตอร์เครื่องนี้ มันได้ส่งผลดี อันเป็นประโยชน์ ในด้านของการทำงาน ขององค์การต่างๆที่เป็นเจ้าของมัน สามารถที่จะ ยกตัวอย่างเช่น มันถูกใช้ในเรื่องของ การจัดเก็บข้อมูล และการประมวลผล ที่เป็นเรื่องที่เกี่ยวข้อง กับการจัดทำสถิติ
อีกทั้งมันก็ยัง ได้ถูกนำไปใช้งาน ในเรื่องของการคำนวณทุกประเภท ซึ่งหน้าที่ของมันนั้น อาจจะทำให้เรา เข้าใจได้ว่า มันคือศูนย์รวบรวม ข้อมูลทางสถิติในยุคแรก ( Data Center )
และสิ่งนี้นี่เอง ที่เป็นจุดเริ่มต้นของโครงสร้าง ไอทีอีเว้นท์ ในระดับพื้นฐาน ของระบบที่เกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศ ( IT Infrastructure ) ที่มีความสำคัญ เป็นอย่างมากกับผู้คน และองค์กรในโลก ยุคปัจจุบันนี้
และตอนนี้เรา กำลังมาถึงจุดที่ว่า การจัดเก็บข้อมูลแบบ Cloud นั้นมันได้มีจุดเริ่มต้น มาจากตรงไหน คำตอบนั่นก็คือ มันได้เริ่มต้นขึ้น จากเจ้าคอมพิวเตอร์ เครื่องยักษ์เครื่องนี้นั่นเอง
ซึ่งหลายคนอาจจะยังสงสัย ว่าแล้วเจ้าเครื่องคอมพิวเตอร์ดังกล่าว มันทำงานได้อย่างไร ก็คงจะต้องอธิบาย กันให้เข้าใจก่อนว่า เจ้าเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องนี้ มันไม่ใช่เครื่องคอมพิวเตอร์ ที่ถูกคีย์ข้อมูลเข้าไป หรือเป็นการนำเอาข้อมูล เข้าไปใส่แบบออนไลน์ เหมือนในยุคปัจจุบัน
เนื่องจากโลกในขณะนั้น ก็ยังไม่รู้จัก สิ่งที่เรียกว่า ” อินเทอร์เน็ต “ โดยในตอนนั้น หากจะทำการป้อนข้อมูล การเก็บข้อมูลบนระบบคลาวด์ เข้าไปในเครื่อง ก็จะต้องใช้ สิ่งที่เรียกว่า ” บัตรเจาะรู ” ( Punch Card ) โดยเป็นลักษณะของ แผ่นกระดาษแข็ง ที่ได้นำเอารหัสโค้ดต่างๆ ใส่ลงไปก่อนหน้าแล้ว
โดยเจ้าเครื่องคอมพิวเตอร์ ก็จะทำการถอดรหัส จากช่องว่างที่อยู่ บนแผ่นกระดาษแข็งนั้น ซึ่งต่อมามันก็ถูก พัฒนาให้กลายมาเป็นเครื่อง ” Teletype Printer “ ที่เราสามารถออกคำสั่ง ในการบันทึกข้อมูล จากระยะไกล ได้ด้วยการใช้ สายไฟคู่เป็นสื่อเชื่อมโยง ที่มีลักษณะคล้ายกัน กับระบบวงจร ของเครื่องโทรศัพท์นั่นเอง โทรศัพท์ ระบบ ค ลาว ด์
การกำเนิดของระบบคลาวด์ถือเป็นการสร้างประวัติศาสตร์หน้าใหม่ ของวงการคอมพิวเตอร์โลก
โดยตั้งแต่ยุค 60’s เป็นต้นมา หรือในปี ค.ศ. 1960 – 1969 ( พ.ศ. 2503 – 2512 ) กระทรวงกลาโหมผู้ที่คอยกำกับดูแล กองทัพสหรัฐ เกิดไอเดียที่จะคิด สร้างระบบเครือข่าย อะไรบางอย่าง ที่สามารถที่จะทำให้ เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่อง ที่มีอยู่บนโลก เชื่อมโยงกันเป็นหนึ่งได้
พวกเขาจึงได้ทำการ ริเริ่มก่อตั้ง สำนักงานโครงการวิจัยขั้นสูง หรือที่เรียกว่า ” ARPA “ ( Advanced Research Project Agency ) ขึ้นมา โดยมีวัตถุประสงค์ ในการสนับสนุน ผลงานการวิจัย ทางด้านการทหาร ของกองทัพสหรัฐนั่นเอง
และจากวันนั้นเป็นต้นมา ระบบดังกล่าว ระบบคลาวด์ heytap คือ ก็ได้รับการพัฒนา อย่างรวดเร็ว เพื่อรองรับอัตรา ความเจริญเติบโต ที่มีความทันสมัย ของยุคข้อมูลข่าวสาร ในโลกปัจจุบันนี้
และระบบก็ได้มาเจริญเติบโต อย่างสมบูรณ์แบบจริงๆ ก็ในโลกแห่งยุคที่มี ” คอมพิวเตอร์ PC “ ( Personal Computer ) ที่มีผู้คนจากทั่วโลก ได้หันมาใช้งานมัน กันอย่างแพร่หลาย
ซึ่งเป็นสิ่งที่แสดงออกให้เห็นว่า ความเจริญรุ่งเรือง ในยุคของข้อมูลข่าวสาร ของโลกยุคปัจจุบันนี้ ได้กลายเป็นส่วนหนึ่ง ภายในชีวิตประจำวันของทุกคนไปแล้ว ซึ่งก็เรียกได้ว่า ก็คงจะยากหากจะต้องแยกออกจากกัน
Artist Em